เรื่องเล่าจากศิษย์เก่า

บ่มเพาะทักษะผู้นำ ทำงานได้ในทุกองค์กร

ทักษะความเป็นผู้นำ และทักษะอื่นๆที่ได้จากการเป็นครูผู้นำการเปลี่ยนแปลง เป็น Soft Skill ที่สามารถประยุกต์ใช้ได้ทุกที่ ศิษย์เก่าของ ทีช ฟอร์ ไทยแลนด์หลายคนได้นำทักษะเหล่านี้ไปใช้กับงานต่างๆ ในบทความนี้ เราจะมาทำความรู้จักศิษย์เก่า 2 คน คือ คุณทิพย์ และ คุณเผอิญ ที่ทำงานในบริษัทเอกชน และได้นำประสบการณ์จากการลงพื้นที่ 2 ปี ไปใช้พัฒนางานของพวกเธอ

เดินออกจากพื้นที่ปลอดภัย ก้าวข้ามขีดจำกัด เพื่อค้นหาตัวเอง

ที่จริงแล้วเส้นทางการเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลงของ ปอย-ธัญญาภรณ์ ศรีดวงจันทร์ นั้นเต็มไปด้วยความบังเอิญ ปอยไม่ได้เริ่มต้นด้วยการมองตัวเองว่ามีความเป็นผู้นำเสียเท่าไรนัก การสมัครเข้าร่วมโครงการผู้นำการเปลี่ยนแปลงเป็นเพียงกิจกรรมที่เธอทำร่วมกับเพื่อนในช่วงที่เพิ่งศึกษาจบจากคณะวิทยาศาสตร์ สาขาสถิติจากมหาวิทยาลัยขอนแก่น ปอยไม่ได้คาดหวังว่าจะผ่านการคัดเลือก แต่ทีมงานมูลนิธิทีช ฟอร์ ไทยแลนด์กลับเล็งเห็นถึงศักยภาพที่ซ่อนอยู่ในตัวเธอ ทำให้เธอผ่านกระบวนการคัดเลือกสุดเข้มข้นในท้ายที่สุด

ล้อมวงศิษย์เก่าทีช ฟอร์ ไทยแลนด์ ถกประเด็นการศึกษาไทยร่วมกับกรุงเทพมหานคร

“ถ้าไปทำงานอื่น คงไม่ได้กลับมาแล้ว” เป็นเหตุผลว่าทำไม เมี่ยว -ศิรินทร์ ตั้งพรไพบูลย์ ตัดสินใจเข้าร่วมโครงการผู้นำการเปลี่ยนแปลงรุ่นที่ 2 เมี่ยวมองว่าการเป็นครูผู้นำนั้น นอกจากจะได้ทำอะไรที่ท้าทาย และตอบโจทย์ความสนใจในการศึกษาส่วนตัวแล้วนั้น ยังเป็นการพัฒนาความเป็นผู้นำของตัวเองที่จะเพิ่มโอกาสในการก้าวกระโดดในอาชีพการงานในอนาคต ดังนั้น เมื่อจบการศึกษาระดับปริญญาตรีจากคณะเศรษฐศาสตร์ ภาคอินเตอร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์แล้วนั้น เธอจึงไม่ลังเลที่จะเข้าร่วมโครงการทันที

จากครู (ผู้นำการเปลี่ยนแปลง) สู่ด็อกเตอร์

“ถ้าไปทำงานอื่น คงไม่ได้กลับมาแล้ว” เป็นเหตุผลว่าทำไม เมี่ยว -ศิรินทร์ ตั้งพรไพบูลย์ ตัดสินใจเข้าร่วมโครงการผู้นำการเปลี่ยนแปลงรุ่นที่ 2 เมี่ยวมองว่าการเป็นครูผู้นำนั้น นอกจากจะได้ทำอะไรที่ท้าทาย และตอบโจทย์ความสนใจในการศึกษาส่วนตัวแล้วนั้น ยังเป็นการพัฒนาความเป็นผู้นำของตัวเองที่จะเพิ่มโอกาสในการก้าวกระโดดในอาชีพการงานในอนาคต ดังนั้น เมื่อจบการศึกษาระดับปริญญาตรีจากคณะเศรษฐศาสตร์ ภาคอินเตอร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์แล้วนั้น เธอจึงไม่ลังเลที่จะเข้าร่วมโครงการทันที

สร้างการเปลี่ยนแปลงในแบบของตัวเอง

แม้ จ๋าแพรวพรรณ วาสวกุล จะจบการศึกษาปริญญาตรีจากคณะศิลปศาสตร์ เอกอังกฤษ-อเมริกันศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ซึ่งไม่ได้เป็นคณะที่มีความเกี่ยวข้องกับการศึกษาโดยตรง แต่จ๋ากลับร่วมหลากหลายกิจกรรมที่สร้างบันดาลใจให้เธอเข้าสู่วงการการศึกษาตั้งแต่สมัยอยู่มหาวิทยาลัย

Parents’ Voice: ครอบครัว “ครูผู้นำ” บันดาลใจ

ก่อนจะเข้าไปเป็นครูผู้นำการเปลี่ยนแปลง ผู้สมัครหลายคนต้องสื่อสารให้ครอบครัวรู้เป็นอันดับแรก ว่ามีความตั้งใจจะเข้าไปคลุกกับปัญหาการศึกษาไทยเป็นระยะเวลา 2 ปี และเนื่องจากการลงพื้นที่ของครูผู้นำฯ ไม่ใช่งานสบายนัก ผลตอบรับที่ได้จึงมีทั้งในเชิงสนับสนุนและไม่สนับสนุน

คลื่นแห่งความเปลี่ยนแปลงของการศึกษาไทย

“ใครๆก็เปลี่ยนแปลงการศึกษาได้” นี่อาจเป็นคำพูดที่ดูสวยงาม แต่ในเชิงปฏิบัติอาจจะไม่ง่ายขนาดนั้น ยิ่งเมื่อมองจากมุมของคนที่เคยเป็นครูมาก่อน อย่างศิษย์เก่าผู้นำการเปลี่ยนแปลงของ ทีช ฟอร์ ไทยแลนด์ ทั้ง 3 คน คือ สกาย ฟลุ๊ก และภูมิ ที่ได้ลงไปทำงานเป็นครูในโรงเรียนจริงๆมาแล้ว 2 ปี

เรียนรู้โลกกว้าง เพื่อกำหนดอนาคตตนเอง

ครูคนนี้ชื่อว่า ครูปู สุวรรณา จำแนกวงษ์ ครูผู้นำการเปลี่ยนแปลงของ ทีช ฟอร์ ไทยแลนด์ รุ่นที่ 6 เขาได้ใช้เวลา 2 ปี ทำงานเป็นครูสอนวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ที่โรงเรียนโพรงมะเดื่อวิทยาคม จังหวัดนครปฐม ในระหว่างที่สอนที่นั่น เขาได้จัดโครงการมากมายที่ช่วยให้นักเรียนได้ค้นหาตนเอง และเรียนรู้เกี่ยวกับเส้นทางชีวิตหลังเรียนจบ สาเหตุหนึ่งที่ครูปูให้ความสนใจกับเรื่องนี้ อาจเป็นเพราะบริบทของเด็กๆในหลากพื้นที่ที่ครูปูได้เรียนรู้มา

“ความอยากรู้” เท่านั้น ที่จะพาข้ามทุกอุปสรรค

ครูณัท ครูผู้นำการเปลี่ยนแปลงของ ทีช ฟอร์ ไทยแลนด์ รุ่นที่ 6 พูดถึงแรงบันดาลใจที่ทำให้เธออยากเข้าร่วมโครงการผู้นำการเปลี่ยนแปลง ปัจจุบันเธอเป็น Learning Experience Designer ของ EdTech ที่ชื่อว่า Conicle “งานของณัทเป็นการออกแบบประสบการณ์เรียนรู้ให้แก่องค์กรต่างๆที่ต้องการมาใช้แพล็ตฟอร์มของทางบริษัท มีทั้งแบบออนไลน์และออฟไลน์”